หลักสูตรวิศวกรรมการผลิตและระบบอัตโนมัติ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2565)

ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรนี้ สามารถยื่นขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับภาคีวิศวกรได้ เนื่องจากผ่านการรับรองปริญญาโดยสภาวิศวกรแล้ว

ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย :       หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิตและระบบอัตโนมัติ)

ภาษาอังกฤษ:    Bachelor of Engineering Program in Production Engineering and Automation 

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

          ภาษาไทย :       วศ.บ (วิศวกรรมการผลิตและระบบอัตโนมัติ)

          ภาษาอังกฤษ :  Bachelor of Engineering (Production Engineering and Automation System) 

อักษรย่อปริญญา

          ภาษาไทย :       วศ.บ. (วิศวกรรมการผลิตและระบบอัตโนมัติ)

          ภาษาอังกฤษ :   B.Eng. (Production Engineering and Automation System)

จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า 133 หน่วยกิต

รายวิชาที่มุ่งเน้น

1. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ วิเคราะห์ ผลิต และเทคโนโลยีเครื่องจักรกลซีเอ็นซี

2. ออโตเมชั่นและระบบควบคุมอัตโนมัติ

3. การวางแผนและควบคุมการผลิต

4. การควบคุมคุณภาพ

5. วิศวกรรมการซ่อมบำรุง

6. วิศวกรรมความปลอดภัย

 จำนวนที่เปิดรับนักศึกษา และอัตราบำรุงการศึกษาแบบเหมาจ่าย

รับจำนวน 40 คน ต่อปีการศึกษา แบบเหมาจ่ายภาคเรียนละ

อัตราบำรุงการศึกษา
1. ค่าลงทะเบียนเรียน ภาคการศึกษาปกติ ภาคเรียนละ 9,500 บาท

2. ค่าลงทะเบียนเรียน ภาคการศึกษาฤดูร้อน  ภาคเรียนละ 4,750 บาท

3. ค่าธรรมเนียมพิเศษ ภาคการศึกษาปกติ ภาคเรียนละ 5,000 บาท

4.ค่าธรรมเนียมพิเศษ ภาคการศึกษาฤดูร้อน  ภาคเรียนละ 2,500 บาท

สอบถามรายละเอียดได้ที่

หรือที่ งานบริการการศึกษา

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. วิศวกร

2. นักวิทยาศาสตร์

3. นักวิจัย

4. ครู อาจารย์ ในสถาบันการศึกษาทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

5. ข้าราชการ

6. ผู้ประกอบการ / อาชีพอิสระ

ครุภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการ และสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน

1.ห้องปฏิบัติการวัสดุ

        1.1 อุปกรณ์การเตรียมชิ้นงาน เพื่อการวิเคราะห์โครงสร้างโลหะ

 

        1.2 Metallurgical Microscope
       1.3 Hardness Testing Machine   

2. ห้องปฏิบัติการกระบวนการผลิต

      2.1 Punch and Die

      2.2 Milling Machine
      2.3  Welding

      2.4 งานกลึง

3. ห้องปฏิบัติการการศึกษาการทำงาน

     3.1 อุปกรณ์การศึกษาการทำงานและเวลามาตรฐาน

3.2 อุปกรณ์การศึกษาด้านการยศาสตร์ และความปลอดภัยในโรงงาน

4. ห้องปฏิบัติการการวัด

      4.1 การวัดละเอียด

      4.2 การวัดอุณหภูมิ ความดัน หรืออื่นๆ

 

5. ห้องปฏิบัติการกระบวนการผลิตขั้นสูง

      5.1 CNC, CAD/CAM

 

        5.2 PLC

      5.3 Pneumatic

6. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์

  6.1 โปรแกรมสำเร็จรูปในด้านการวางแผนการผลิต

6.2 โปรแกรมสำเร็จรูปในด้านการวางผังโรงงาน

6.3 โปรแกรมสำเร็จรูปในการจำลองสถานการณ์

6.4 โปรแกรมสำเร็จรูปในด้านสถิติ และการควบคุมคุณภาพ