ผลงานนักศึกษาวิศวกรรมศาสตร์

ระดับนานาชาติ

1. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2015 ระดับนานาชาติ ณ ประเทศสิงคโปร์
ได้รับรางวัลออกแบบยอดเยี่ยม MECH-D Design Award

นายณัฐพล ยุบลเลิศ

rdc1

2. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2016 ระดับนานาชาติ ณ ประเทศไทย

ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2

นายภานุวัฒน์ ขันอาสา

ระดับประเทศ

1. การแข่งขัน Honda ECO Mileage Challenge ปีที่17  ระดับอุดมศึกษา ประเภทรถประดิษฐ์  จัดโดย บริษัท เอ.พี. ฮอนด้า ประเทศไทย ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวะศึกษา (สนามแข่ง ไทยแลนด์เซอร์กิต)  ผลการแข่งขันได้อันดับที่ 12 ภายใต้ชื่อทีมเกียร์ประดู่

eco

2. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2014 ระดับประเทศ ในวันที่ 1- 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 นักศึกษาได้เดินทางไปร่วมการแข่งขัน ณ กรุงเทพมหานคร โดยทีมงานจากศูนย์เทคโนโลยีวัสดุแห่งชาติ (MTEC)ณ ห้างสรรพสินค้าไอทีพลาซ่า กรุงเทพมหานคร ผลปรากฎว่า สามารถคว้ารางวัลชนะเลิศ ลำดับ 2ในระดับประเทศ

rdc3

3. ได้รับรางวัลชมเชย โครงการต้นแบบจานรับดาวเทียมพร้อมใช้ซึ่งจัดโดย บริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน)

sat

4. การแข่งขันตอบคำถามงานประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ระดับชาติครั้งที่ 1เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานครได้รับรางวัลรองชนะเลิศ  อันดับ 2

นายธนาธิป ดวงวิญญาณและ นายวัฒนา เขตขาม

techno
5. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2015 ระดับประเทศ ณ ห้างสรรพสินค้าไอทีพลาซ่า กรุงเทพมหานคร ผลปรากฏว่า ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับประเทศได้เป็นตัวแทนประเทศไทยไป แข่งขันระดับนานาชาติที่ประเทศสิงคโปร์
rdc4

6. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2016 ระดับประเทศ  ณ  ศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ นายภานุวัฒน์ ขันอาษา นักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 จากการแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ระดับประเทศ และได้เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ระดับนานาชาติ
rdc5

7. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 (RDC2017) หัวข้อ “รัชกาลที่ ๙ กับการเกษตร” มีทีมเข้าแข่งขันทั้งสิ้น16 ทีมในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ เพื่อค้นหาตัวแทนเข้าแข่งขัน IDC Robocon 2017 ในวันเสาร์ที่ 24 มิถุนายน 2560 ณ ลานชั้น 1 ศูนย์การค้าพันธุ์ทิพย์พลาซ่า ประตูน้ำโดย นายวรัญญู แสงสีดาได้รับรางวัล Best Design ในนามของทีม หญ้าแฝก

8. ได้รับรางวัลชมเชย อันดับ 2 (อันดับ 5 จากทั้งหมด 27 ทีม) พร้อมเงินรางวัล 2,000 บาทในการแข่งขันทักษะทางด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า เรื่องระบบควบคุมอัตโนมัติทางอุตสาหกรรมด้าน PLC -2018 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

นายลีเพ็ง ปรม และ นายวรวัฒน์ นิสาภัย

อ.ศรัณยู เหลาพา อ.ผู้ควบคุมทีม

9. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 ระดับประเทศณ ศูนย์การค้าพันธ์ทิพย์พลาซ่า วันที่  23 มิถุนายน 2561. มีทีมเข้าร่วมแข่งขันจากทั่วประเทศ ทั้งสิ้น 16 ทีม โดยได้รับรางวัล

รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1
นายชำนาญ วงศ์ชาลี

รางวัลชมเชย
นายภัทราวุธ อุปถัมภ์
นางสาวชเรยมวย เซา

10. รางวัลชมเชย จากโครงการประกวดผลงานสิ่งประดิษฐ์ จักรยานพลังงานทดแทนด้วยแรงลมอัด ณ ม.เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 26 ตุลาคม 2561

อ.จักรี วิชัยระหัด,  นายณัฐวุฒิ ทองหล่อ ผู้ควบคุมทีม

นางสาวซเรยมวย เซา, นายชำนาญ วงษ์ชาลี , นายอานนท์ โพโสภา, นายดาลิม เลียง, นายมนตรี กีนะขาม และ นางสาวสุคาวิน มาว

11.รางวัลชมเชย จากโครงการประกวดแข่งขันหุ่นยนต์ปฏิบัติการทางเทคโนโลยีนิวเคลียร์ ประจำปี 2561 จัดโดย สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน)

อาจารย์ ดร.พงษ์ภูไท อุดมอริยทรัพย์ ผู้ควบคุมทีม

Miss.SREYMOUY SAO นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต

นายชำนาญ วงษ์ชาลี นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

นายวุฒิพงษ์ กันพนม นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

12. รางวัลอันดับที่ 5 (จาก 39 ทีมทั่วประเทศ) การแข่งขันการควบคุมระบบอัตโนมัติแบบชาญฉลาด “Smart automation 4.0” ครั้งที่ 2 รอบชิงชนะเลิศ ซึ่งเป็นการแข่งขันระดับประเทศ

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4
ประกอบด้วย นายกฤษ ดอนดี, นายชำนาญ วงษ์ชาลี และนายวุฒิพงษ์ กันพนม
ควบคุมทีมโดย อ.ศรัณยู เหลาพาและ อ.รัชวุธ สุทธิ

10 ตุลาคม 2562

13. นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกลเข้าร่วมการแข่งขันการควบคุมระบบอัตโนมัติแบบชาญฉลาด “Smart Automation 4.0” ครั้งที่ 4 โดยได้อันดับที่ 18 (จาก 35 ทีมทั่วประเทศ) ในรอบคัดเลือก  ซึ่งเป็นการแข่งขันระดับประเทศ ที่จัดโดยสาขาวิชาวิศวกรรมการวัดคุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.รัตนโกสินทร์ ร่วมกับ สถาบันไทย-เยอรมัน บริษัท มิตซูบิชิ แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น(ประเทศไทย)จำกัด ระหว่างวันที่ 25-27 กรกฎาคม 2565‌ ณ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ ศาลายา

สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4  ประกอบด้วย นายศรัญทร คุราวัน และนายฉัตรชัย เครือสังข์

ควบคุมทีมโดย อ.ศรัณยู เหลาพาและ อ.รัชวุธ สุทธิ

14.รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การแข่งขันเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักร Flow code ในการแข่งขันทักษะวิชาชีพนักศึกษา ๑ ศตวรรษ ราชภัฏอุดรธานี เครือข่ายคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี และคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ ประจำปี 2566

นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4  ประกอบด้วย นายเกษดา สมีเพชร และ นายณัฐพร โชคเหมาะ
ควบคุมทีมโดย อ.จักรี วิชัยระหัด และ อ.รัชวุธ สุทธิ
15. โครงการที่ผ่านการคัดเลือกให้นำผลงานเข้าร่วมประกวดและจัดแสดงนิทรรศการในงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2567 ระหว่างวันที่ 2-6 กุมภาพันธ์ 2567 ระดับอุดมศึกษา “Thailand New Gen inventors Award 2024″

รายชื่อคณะผู้ประดิษฐ์
อาจารย์ ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ
นายณัฐพร โชคเหมาะ นักประดิษฐ์
นางสาวรุ่งลัดดา สวาสดี นักประดิษฐ์
นายเกษดา สมีเพชร นักประดิษฐ์
นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมเครื่องกล
ระดับภูมิภาค

1. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2014 ระดับภูมิภาคเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือรวมกับภาคตะวันออก ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
จังหวัดนครราชสีมา ในวันที่ 10-15 มีนาคม พ.ศ. 2557  ผลปรากฏว่าสามารถคว้ารางวัลชนะเลิศ
และรางวัลรองชนะเลิศสามารถคว้าสิทธิ์ในการเข้าไปแข่งขันต่อในระดับประเทศ

2. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2015 ระดับภูมิภาคเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ผลปรากฏว่าสามารถคว้ารางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สามารถคว้าสิทธิ์ในการเข้าไปแข่งขันต่อในระดับประเทศ

3.การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ RDC2016 ระดับภูมิภาคเพื่อคัดเลือกเป็นตัวแทนของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา ผลปรากฏว่านายพงศธร เพ็ชรขี้เหล็ก ได้รับรางวัลชนะเลิศ นายภานุวัฒน์ ขันอาษาได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 นายชาติชนะ แก้วสุพรรณได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 นายธิเบศ ศรีษะใบ ได้รับรางวัล Best Design  สามารถคว้าสิทธิ์ในการเข้าไปแข่งขันต่อในระดับประเทศ

rdc2016

4. การแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 RDC 2017 ระดับภูมิภาค (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ – ตะวันออก) ระหว่างวันที่ 22-27 พฤษภาคม 2560 จัดโดย ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีจากการแข่งขันนักศึกษาตัวแทนโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์สามารถคว้ามาได้ 4 รางวัลคือ
นางสาวสุกัญญา นนท์ฤาชา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1
นายวรัญญู แสงสีดา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 2
นายวรวัฒน์ นิสาภัย รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
นายพงษ์ศักดิ์ สมอาจ รางวัล BEST DESIGN

5.นายกฤษนัณจ์ แพงด้วง นักศึกษาโครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์
ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ประเภทโครงงาน ด้านนวัตกรรมสหกิจศึกษา นำเสนอประเภท บรรยาย (Oral Presentation)
ในการนำเสนอโครงงานสหกิจศึกษา ในโครงการแสดงนิทรรศการและการประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น ระดับเครือข่าย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ อาคารรวัตปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ และขอแสดงความชื่นชมและขอบคุณนางสาวกนกพร ศรีเทศ นางสาวศิรินันท์ โคตรโนนกอก นายนิติภูมิ ศรีเเสง นายปณิธาน เพิ่มพูล นายอานนท์ โพโสภา และนางสาวณัฐริกา มีสัจ ที่เป็นตัวแทนในการร่วมกิจกรรมครั้งนี้

18 พฤษภาคม 2561

6.ในการแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 (Robot Design Contest 2018: RDC 2018) ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม 2561 ณ ศูนย์การค้าเซนทรัลพลาซา นครราชสีมา

รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 นายภัทราวุธ อุปถัมภ์ ทีมมังกร 555+
รองวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 นายชำนาญ วงษ์ชาลี  ทีมมังกรไฟ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 และ Best Design นางสาวซเรยมวย เซา  ทีมมังกรอวกาศ
รางวัลชมเชย นายชูเกียรติ ราชบาศรี
นายทินนรัตน์ บูขุนทด
นายอภิสิทธิ์ บุญประสม

7.ได้รับรางวัลในการเข้าแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ ครั้งที่ 12 ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ RDC ROBOT CONTEST 2019 ดังนี้

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ ที่ 1
นายดาลิม เลียง สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
ได้เป็นตัวแทนเข้าแข่งขันออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ในระดับประเทศ ณ กรุงเทพมหานคร

รางวัลชมเชย
1. นายวุฒิพงษ์ กันพนม สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
2.นางสาวสุคาวิน มาว สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
3.นายมนตรี กีนะขาม สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
4.นายเมธา สีสอน สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต
5.นายกฤษ ดอนดี สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
6.นายณัฐพงศ์ พิงสูงเนิน สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมและวิสาหกิจ

8. รางวัลจากโครงการประกวดผลงานสหกิจศึกษา เครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ประจำปีการศึกษา 2561 วันที่ 28 มิถุนายน 2562
ณ โรงแรมศรีพฤทธาลัยราชภัฏสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ

ประเภทโปสเตอร์
1. ด้านนวัตกรรมสหกิจศึกษา 
รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 Mr.Lipheng Prum Miss Sokhavin Mao
ชื่อโครงงาน “การพัฒนาอุปกรณ์ในกระบวนการผลิตฮาร์ดดิสก์ไดร์ฟ (Tool Improvement For Hard Disk Drive Manufacturing)
2. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 นายวรวัฒน์ นิสาภัย นายวุฒิพงศ์ กันพนม
ชื่อโครงงาน “การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ สายการผลิตกรณีศึกษา: อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์”

ประเภทบรรยาย
1. ด้านนวัตกรรมสหกิจศึกษา
รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 นายทินนรัตน์ บูขุนทด
ชื่อโครงงาน “การปรับปรุงประสิทธิภาพคอยล์ความร้อนของเครื่องอินดักชั่นฮีต”

2. ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 นางสาวนฤมล เพชรนอก นายกฤษ ดอนดี
ชื่อโครงงาน “การเพิ่มประสิทธิภาพสายการผลิต”

รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 นายวรวัฒน์ นิสาภัย นายวุฒิพงศ์ กันพนม
ชื่อโครงงาน “การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของ สายการผลิตกรณีศึกษา: อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์”

9.การประกวดผลงานสหกิจศึกษาเครือข่ายอุดมศึกษาประเภทบรรยายโครงงานสหกิจศึกษาด้านนวัตกรรม

รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 : นายกฤษ ดอนดี

รางวัลชนะเลิศอันดับ 3 : นายชำนาญ วงษ์ชาลี นายศุภกร สีแก

ประเภทบรรยายโครงงานสหกิจศึกษา ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 : Miss Sreymouy Sao
นางสาวเสาวลักษณ์ โพธิ์ใต้
ประเภทผลงานโปสเตอร์สหกิจศึกษา ด้านนวัตกรรมสหกิจศึกษา
รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 : นายกฤษ ดอนดี รางวัลชนะเลิศอันดับ 2 : นายชำนาญ วงษ์ชาลี นายศุภกร สีแก
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3:นายพีระพล บุตรเขียว
นายรัฐเขตต์ รอดสุข
ประเภทผลงานโปสเตอร์สหกิจศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
รางวัลชนะเลิศอันดับ 1: นายทนงศักดิ์ บุญชาติ
นายธนพล ลีลา
รางวัลชนะเลิศอันดับ 2: Miss Sreymouy Sao
นางสาว เสาวลักษณ์ โพธิ์ใต้
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 : นางสาวสุนภา โครักษา นายอิสรพงศ์ แห่สูงเนิน

10. วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2564 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ทีม EN Quality CPRU Team มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิที่ได้รับคัดเลือก 1 ใน 6 ทีม จาก 6 มหาวิทยาลัยเครือข่ายอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง จังหวัดนครราชสีมา เพื่อเป็นตัวแทน ในการแข่งขันโครงการประกวดแผนศึกษาความเป็นไปได้ทางธุรกิจ “เส้นทางสู่นวัตวณิชย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” (Mini R2M By NESP) ระหว่างวันที่ 18-19 กันยายน 2564

ซึ่งผู้ร่วมทีมประกอบไปด้วย
1. นางสาวมาลินี เถียนนอก
2. นายรัฐเขตต์ รอดสุข
3. นายณัฐพงษ์ หมั่นคง
4. นายธรรมศาสร์ เลิศประเสริฐ
5. นายศรัญทร คุราวัน
โดยมี อาจารย์ ดร.สุพัตรา บุตรเสรีชัย และ อาจารย์ ดร.ศักดิ์ชัย ดรดี เป็นอาจารย์ผู้ดูแลควบคุมทีม

11. วันที่ 6 เมษายน 2567  นายเกษดา สมีเพชร นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกลที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 เนื่องในโอกาสเข้าร่วม โครงการนิทรรศการกิจการและประกวดผลงานสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงานดีเด่นระดับเครือข่ายภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างประจำปี 2567 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์