ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.มานพ ยิ่งรัมย์

 E-Mail: manopyin@hotmail.com

   การศึกษา:

ระดับปริญญา สาขาวิชา ปีที่สำเร็จ สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
ปรัญญาดุษฏีบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า พ.ศ. 2548 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต วิศวกรรมไฟฟ้า พ.ศ. 2542 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

รายละเอียดผลงานทางวิชาการ

1)บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

– มานพ ยิ่งรัมย์, “เทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบพาสซีฟในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระ”, วิศวสารลาดกระบัง ปีที่ 30, ฉบับที่ 3, กันยายน 2556.
– M. Yingram and S. Premrudeepreechacharn, “Investigation of Relationship between Voltage and Nondetection Zone of OUV/OUF of Local Islanding Detection Techniques”, Journal of Clean Energy Technologies, Vol. 2, No. 4.
– มานพ ยิ่งรัมย์, “เทคนิคการตรวจจับการแยกตัวอิสระแบบแรงดันเกิน/แรงดันต่ำ ในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวด้วย Matlab/Simulink”, วิศวสารลาดกระบัง ปีที่ 32, ฉบับที่ 1, มีนาคม 2558.
– M. Yingram and S. Premrudeepreechacharn, “Over/Undervoltage and Undervoltage Shift of Hybrid Islanding Detection Method of Distributed Generation”, The Scientific World Journal, 2015.
– มานพ ยิ่งรัมย์, “เทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบแอคทีฟในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว ตอนที่ 1”, วิศวสารลาดกระบัง, ปีที่ 33, ฉบับที่ 2, มิถุนายน 2559, หน้า 1-7.
– มานพ ยิ่งรัมย์ และดุสิต สูรย์ราช, “เทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบแอคทีฟในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว”, วารสาร มทร. อีสาน ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 10, ฉบับที่ 1, มกราคม-เมษายน 2560, หน้า 11-21.
– Manop Yingram, Two-level voltage shift of active islanding detection method of distributed generation, Phranakhon Rajabhat Research Journal (Science and Technology), Vol. 15, No. 2, July-December 2020, pp. 95-110.
– มานพ ยิ่งรัมย์, “เทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบรีโมทในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว”, วารสาร มทร. อีสาน ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 13, ฉบับที่ 2. พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๓, หน้า 1-17.
– Manop Yingram, Average Point Pulsewidth Modulation Method for Inverter-based DG in Electric Power Systems Generation, PSRU Journal of Science and Technology, Vol. 5, No. 2, May-August 2020, pp. 87-97.
– มานพ ยิ่งรัมย์, “ความเหมาะสมของวิธีการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบโลคอลสำหรับอินเวอร์เตอร์เชื่อมต่อในหลายหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, ปีที่ 8, ฉบับที่ 1. มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๖, หน้า 30-38.

2)บทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการ (Conference/Abstract/Proceedings)

– M. Yingram and S. Premrudeepreechacharn, “Investigation Over/Under-Voltage Protection of Passive Islanding Detection Method of Distributed”, International Conference on Renewable Energy Research and Applications (ICRERA), Nagasaki, Japan, Nov. 11-14, 2012.
– มานพ ยิ่งรัมย์, “การศึกษาปัญหาการใช้งานระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระในจังหวัดชัยภูมิ” การประชุมเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 9, 8-10 พฤษภาคม 2556, ณ ชลพฤกษ์ รีสอร์ท อ.บ้านนา จังหวัดนครนายก.
– มานพ ยิ่งรัมย์, กิตติวุฒิ จีนนะบุตร และเฉลิมพล วรรณสิงห์, “ความแตกต่างของพื้นที่ไร้การตรวจจับของเทคนิคการตรวจจับการแยกตัวอิสระแบบ แรงดันเกิน/แรงดันต่ำ ระหว่างหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวฐานอินเวอร์เตอร์กับหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวฐานซิงโครนัส”, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 6, 26-28 มีนาคม 2557, ณ มารีไทม์ ปาร์ค แอนด์ รีสอร์ท อำเภอเมืองกระบี่ จังหวัดกระบี่.
– Manop Yingram, Kittiwut Chinnabutr, Wirapong Chansanam and Rapin Kudpik, “Perturbation of Active Islanding Detection Techniques in Power System Network”, ECTI-CON 2015, Novotel Hua Hin Cha-Am Beach Resort & Spa, Thailand, June. 24-27, 2015.
– มานพ ยิ่งรัมย์ และเฉลิมพล วรรณสิงห์, “ความแตกต่างของเทคนิคการตรวจจับการแยกตัวอิสระระหว่างแบบพาสซีฟกับแบบแอคทีฟ”, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 8, โรงแรมดวงจิตต์ รีสอร์ท แอนด์ สปา จังหวัดภูเก็ต, 25-27 พฤษภาคม พ.ศ. 2559.
– มานพ ยิ่งรัมย์ และเฉลิมพล วรรณสิงห์, “การค้นคว้าพื้นที่ไร้การตรวจจับในการป้องกันการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระของหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวชนิดซิงโครนัส”, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 9, โรงแรมเคพีแกรนด์ อำเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี, 2-4 พฤษภาคม พ.ศ. 2560.
– มานพ ยิ่งรัมย์ และบวรวิช รอดรังษี, “การพัฒนาวิธีการการมอดูเลตความกว้างพัลส์สำหรับหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวฐานอินเวอร์เตอร์ในระบบไฟฟ้ากำลัง”, การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 13 (SRUCON2017), อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี, 14-15 ธันวาคม พ.ศ. 2560.
– มานพ ยิ่งรัมย์ และเชิดชาย ไชยวงศ์, “การศึกษาแรงดันเบรกดาวน์อิมพัลส์ของแกประหว่างทรงกลมระนาบภายใต้การส่องแสง UV”, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 10, โรงแรมราชศุภมิตร อาร์.เอส. โฮเต็ล อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี, 1-3 พฤษภาคม พ.ศ. 2561.
– มานพ ยิ่งรัมย์ อชิตพล ศศิธรานุวัฒน์ ปิยพันธุ์ แสงทอง สุรวุฒิ สุดหา เกศศิริ ละแมนชัย ธรรมนูญ ม้าวิเศษ และรัชวุธ สุทธิ, “ความเหมาะสมของระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระสำหรับชุมชนในจังหวัดชัยภูมิ”, การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ, 28-30 พฤศจิกายน 2561.
– Manop Yingram, Bovornwich Rodrangsee and Chalermpol Varnasinha, “Over/Undervoltage Islanding Detection Technique for Grid-Connected Inverter in Multi-Distributed Generation”, The 7th Rajabhat University National and International Research and Academic Conference, Sakon Nakhon Rajabhat University, Thailand, November 14-16, 2023.

3) ตำรา/หนังสือ พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า

ดาวน์โหลดฟรี เอกสารการสอน พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า

 ข้อมูลด้านการวิจัย

1. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปีงบประมาณ 2555 เรื่อง การศึกษาปัญหาการใช้งานระบบผลิตกระแสไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระในจังหวัดชัยภูมิ
2. ทุนอุดหนุนการวิจัยแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา (ปริญญาเอก) กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2555 เรื่อง การพัฒนาวิธีการตรวจจับแบบไฮบริดในการป้องกันการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว
3. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2557 เรื่อง เทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบพาสซีฟในการต่อต้านการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวด้วย Matlab/Simulink
4. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีงบประมาณ 2558 เรื่อง การพัฒนาวิธีการตรวจจับสำหรับการป้องกันการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปีงบประมาณ 2559 เรื่อง การค้นคว้าพื้นที่ไร้การตรวจจับในการป้องกันการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระของหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวชนิดซิงโครนัสโดยเทคนิคค่าความน่าจะเป็นปานกลาง
6. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปีงบประมาณ 2560 เรื่อง การพัฒนาวิธีการการมอดูเลตความกว้างพัลส์สำหรับหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัวฐานอินเวอร์เตอร์ในระบบไฟฟ้ากำลัง
7. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปีงบประมาณ 2560 เรื่อง การค้นคว้าวิธีการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระสำหรับอินเวอร์เตอร์เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว 1 เฟส
8. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปีงบประมาณ 2561 เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบเทคนิคการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระระหว่างแบบรีโมทกับแบบโลคอลในระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่เชื่อมต่อหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว
9. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน (วช.) ปีงบประมาณ 2561 เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง โฟตอน แรงแม่เหล็กไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วงตัว
10. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) พ.ศ. 2564 เรื่อง กรณีศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และแรงโน้มถ่วง
11. หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) พ.ศ. 2565 เรื่อง การค้นคว้าความเหมาะสมของวิธีการตรวจจับการเกิดการจ่ายไฟแบบแยกตัวอิสระแบบโลคอลสำหรับอินเวอร์เตอร์เชื่อมต่อในหลายหน่วยผลิตไฟฟ้าแบบกระจายตัว

สาขาวิชาที่สนใจ/มีความชำนาญ

วิศวกรรมไฟฟ้า

รายวิชาที่สอน

  1. ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
  2. พื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า

ประวัติการทำงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือบริษัทเอกชน

  • ประสบการณ์ทำงาน ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2547 – ตุลาคม พ.ศ. 2551

ปฏิบัติงานในตำแหน่ง     อาจารย์

หน้าที่โดยสังเขป           สอนในรายวิชาของ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ

หน่วยงาน                   สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา

  • ประสบการณ์ทำงาน ตั้งแต่เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 – กันยายน พ.ศ. 2547

ปฏิบัติงานในตำแหน่ง     ผู้ช่วยสอนภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

หน้าที่โดยสังเขป           สอนในรายวิชา 2102-392 Electrical Engineering Lab 1

หน่วยงาน                   ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  • ประสบการณ์ทำงาน ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2543 – มีนาคม พ.ศ. 2545

ปฏิบัติงานในตำแหน่ง     อาจารย์

หน้าที่โดยสังเขป           สอนและทำวิจัย

หน่วยงาน                   สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

  • ประสบการณ์ทำงาน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2542 – มกราคม พ.ศ. 2543

ปฏิบัติงานในตำแหน่ง     วิศวกรไฟฟ้า

หน้าที่โดยสังเขป           ติดตั้ง และซ่อมบำรุงระบบไฟฟ้าในโรงงานรีดเหล็ก ที่ควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์

หน่วยงาน                   บริษัท ไทคูน เวิร์นไวด์ กรุ๊ป จำกัด จ.ระยอง