ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้คุณภาพระดับคณะ ประจำปีการศึกษา 2558

ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้คุณภาพระดับคณะ-ประจำปีการศึกษา-2558

จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ คณะกรรมการฯ ได้พิจารณาผลการดำเนินงานของหลักสูตรเทียบกับมาตรฐาน เกณฑ์การประเมิน และการให้คะแนนของตัวบ่งชี้ต่างๆ ที่กำหนดในคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ของ สกอ. ปรากฏผลการประเมินและคะแนนในแต่ละตัวบ่งชี้ ดังนี้

 

ตัวบ่งชี้ คะแนนที่ได้ หมายเหตุ/ข้อสังเกต (ถ้ามี)
องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต
1.1 ผลการบริหารจัดการหลักสูตรโดยรวม 2.79  
1.2 อาจารย์ประจำคณะที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก 3.13  
1.3 อาจารย์ประจำคณะที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ 0.52  
1.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ 5  
1.5 การบริการนักศึกษาระดับปริญญาตรี 5  
1.6 กิจกรรมนักศึกษาระดับปริญญาตรี 4  
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 3.41  
องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย
2.1 ระบบและกลไกการบริหารและพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 5  
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ 5  
2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำและนักวิจัย 3.75  
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 4.58  
องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ
3.1 การบริการวิชาการแก่สังคม 4  
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 4  
องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
4.1 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5  
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 5  
องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ
5.1 การบริหารของคณะเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบัน และเอกลักษณ์ของคณะ 4  
5.2 ระบบกำกับการประกันคุณภาพหลักสูตร 5  
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 4.5  
คะแนนเฉลี่ยทุกองค์ประกอบ 4.01  

 

ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับคณะ (13 ตัวบ่งชี้)

 

องค์ประกอบ จำนวนตัวบ่งชี้ I P O คะแนนเฉลี่ย

ผลการประเมิน

0.01 – 1.50 ระดับคุณภาพ ปรับปรุงเร่งด่วน

1.51 – 2.50 ระดับคุณภาพ ปรับปรุง

2.51 – 3.50 ระดับคุณภาพ พอใช้

3.51 – 4.50 ระดับคุณภาพ ดี

4.51 – 5.00 ระดับคุณภาพ ดีมาก

1 6 2.88 4.50 2.79 3.41 ระดับคุณภาพ พอใช้
2 3 5.00 5.00 3.75 4.58 ระดับคุณภาพ ดีมาก
3 1 4.00 4.00 ระดับคุณภาพ ดี
4 1 5.00 5.00 ระดับคุณภาพ ดีมาก
5 2 4.50 4.50 ระดับคุณภาพ ดี
รวมตัวบ่งชี้ 4 7 2    
คะแนนเฉลี่ย 3.41 4.57 3.27    
ผลการประเมิน พอใช้ ดีมาก พอใช้ 4.01 ดี

 

 

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น และโอกาสการพัฒนา

 

องค์ประกอบที่ 1 การผลิตบัณฑิต

 

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

1.      อาจารย์มีศักยภาพโดยพิจารณาจากคุณวุฒิการศึกษา  และผลงานทางวิชาการ

2.      มีเครือข่ายกับสถานประกอบการในการผลิตบัณฑิต

3.      ความใกล้ชิดกับนักศึกษา

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

1.      ตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์

2.      การจัดโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกเพื่อประโยชน์ด้านการแนะแนวประชาสัมพันธ์

วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

 

องค์ประกอบที่ 2 การวิจัย

 

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

1.    อาจารย์มีศักยภาพโดยพิจารณาจากผลงานทางวิชาวิชาการหรืองานวิจัย

 

1.      ส่งเสริมให้เผยแพร่ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในระดับคุณภาพที่สูงขึ้น

2.      ส่งเสริมให้มีการกระจายทุนวิจัยแก่อาจารย์ให้ทั่วถึง

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

 

 

วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

 

 

 

องค์ประกอบที่ 3 การบริการวิชาการ

 

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

1.      มีเครือข่ายกับสถานประกอบการ

 

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

1.      ส่งเสริมให้มีการบริการวิชาการโดยดึงศักยภาพของคณะ ทั้งเครื่องมือและบุคลากรมาใช้อย่างเต็มที่ โดยเน้นการให้บริการแบบเชิงรุก

 

วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

 

 

 

องค์ประกอบที่ 4 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

 

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

 

 

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

1.      โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของคณะ เช่น สร้างกิจกรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของคณะในงานเจ้าพ่อพระยาแล

 

วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

 

 

องค์ประกอบที่ 5 การบริหารจัดการ

 

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

1.      คณะใช้กระบวนการของการประกันคุณภาพการศึกษามาบริหารจัดการอย่างได้ผล

 

จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

1.      ดำเนินการในเรื่องการบริหารจัดการความรู้ให้ครบถ้วน

2.      นำผลการวิเคราะห์ด้านการเงินมาใช้ในการบริหารจัดการคณะ

 

วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)