ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้คุณภาพระดับหลักสูตร วิศวกรรมการผลิต ประจำปีการศึกษา 2559

การผลิต-สำหรับคณะกรรมการประเมิน-การประเมินตามตัวบ่งชี้คุณภาพระดับหลักสูตรปริญญาตรี

ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้คุณภาพระดับหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2559

หลักสูตรวิศวกรรมการผลิต

โครงการจัดตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์   มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

 

จากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร คณะกรรมการ ฯ ได้พิจารณาผลการดำเนินงานของหลักสูตรเทียบกับมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินและการให้คะแนนของตัวบ่งชี้ต่างๆ ที่กำหนดในคู่มือประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ของ สกอ. ตามระบบ     พิชญพิจารย์ (peer review) ปรากฏผลการประเมินและคะแนนในแต่ละตัวบ่งชี้ ดังนี้

 

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ เกณฑ์การประเมิน

ผลการประเมิน

(P ผ่านเกณฑ์ / Oไม่ผ่านเกณฑ์)

ระบุเหตุผลกรณีไม่ผ่านเกณฑ์
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา 1. จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรไม่น้อยกว่า 5 คน และเป็นอาจารย์ประจำหลักสูตรเกินกว่า 1 หลักสูตรไม่ได้ ฯ ผ่านเกณฑ์
2. คุณสมบัติของอาจารย์ประจำหลักสูตร ผ่านเกณฑ์
3. มีการปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด ผ่านเกณฑ์
4. การดำเนินงานให้เป็นไปตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานเพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ผ่านเกณฑ์
ผลการประเมินองค์ประกอบที่ 1 ผ่านเกณฑ์

 

 

 

 

ผลการประเมินตามตัวบ่งชี้คุณภาพระดับหลักสูตร องค์ประกอบที่ 2-6

 

ตัวบ่งชี้ คะแนนที่ได้ หมายเหตุ/ข้อสังเกต (ถ้ามี)
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 4.02
2.2 การได้งานทำหรือผลงานวิจัยของผู้สำเร็จการศึกษา 5
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 4.51
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา 3
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 3
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 3.33
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์  
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 3
4.2 คุณภาพอาจารย์ 3.89
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 3
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 3.30.
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 3
5.2

การวางระบบผู้สอนและกระบวนการ

จัดการเรียนการสอน

4
5.3 การประเมินผู้เรียน 3
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ 5
คะแนนเฉลี่ยขององค์ประกอบ 3.75
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน 3

 

 

 

 

 

ตารางวิเคราะห์คุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร

 

องค์
ประกอบที่

 

คะแนนผ่าน

 

จำนวนตัวบ่งชี้

 

 

I

 

 

P

 

 

O

 

คะแนนเฉลี่ย

ผลการประเมิน

0.01    –  2.00  ระดับคุณภาพน้อย

2.01  –  3.00  ระดับคุณภาพปานกลาง

3.01  –  4.00  ระดับคุณภาพดี

4.01  –  5.00  ระดับคุณภาพดีมาก

1 ผ่านการประเมิน หลักสูตรได้มาตรฐาน
2 คะแนนเฉลี่ยของทุกตัวบ่งชี้ในองค์ประกอบที่  2  –  6 2 4.02,5 4.51
3 3 3,4,3 3.33  
4 3 3,3.33,4 3.30  
5 4 4 4, 3, 5 3.75  
6 1 3 3  
รวม 13 7 3.75 2 3.58  
ผลการประเมิน 3.47 3.75 4.51  

 

 

รายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่น และโอกาสการพัฒนา

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง
เสริมจุดแข็งด้านของการกู้ กรอ. ได้ 100% และ ค่าเทอมที่ถูกกว่าสถาบันอื่น จะช่วยดึงความสนใจ เพิ่มเติมการประชาสัมพันธ์สู่ภายนอก
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
การพัฒนาประชาสัมพันธ์หลักสูตรให้เป็นที่รู้จัก และมีการพัฒนาด้านชื่อเสียง รางวัลทางวิชาการและกิจกรรม
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

 

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง
มีอาจารย์ที่มีผลงานวิชาการโดดเด่น สามารถพัฒนาร่วมกับอาจารย์ในหลักสูตร จัดให้มีนักวิจัยพี่เลี้ยง เพื่อส่งเสริมการพัฒนางานวิจัย
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
การบริหารอาจารย์อยากให้มีผลงานวิชาการที่ชัดเจนและมีผลความสำเร็จ
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง

·     คณาจารย์ในหลักสูตรมีการเตรียมความพร้อมด้านการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน

·     มีอาจารย์ที่ตรงกับเนื้อหารายวิชาและหลักสูตร

·    มีการวิเคราะห์ผลการประเมินผู้เรียนที่ชัดเจนและติดตามไปยังรายวิชาศึกษาทั่วไป
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
ควรมีการเพิ่มการทวนสอบของรายวิชาพื้นฐานนอกคณะ และส่งผลการทวนสอบเพื่อใช้เป็นแนวทางในการบริหารการสอนต่อไป
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)

 

 

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

จุดแข็ง แนวทางเสริมจุดแข็ง
ได้รับการส่งเสริมจากมหาวิทยาลัย มีศักยภาพด้านการจัดหาคุรุภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการต่างๆ
จุดที่ควรพัฒนา ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
พบว่านักศึกษาต้องการอุปกรณ์ เพิ่มเติมด้านการจัดกิจกรรม การขอห้องปฏิบัติงานด้านกิจกรรม ดังนั้นควรมีการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษาให้ชัดเจน
วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม (ถ้ามี)